Sunday, May 18, 2008

MENTALLY TRAVEL

My nineteenth poll ended with six votes, including one vote from me for ALEXEI AND THE SPRING, COLD HOMELAND, and FINAL SOLUTION. A lot of thanks to everyone who participated in it. Here is the result:


THESE GREAT FILMS LET ME EXPLORE UNFAMILIAR PLACES. WHICH FILMS DO YOU LIKE?

1.LAND WITHOUT BREAD (1933, Luis Bunuel, Las Hurdes in Spain)
+UNKNOWN PLEASURES (2002, Jia Zhangke, Shanxi in China)

Each of these films got two votes, or 33 %.


3.ALEXEI AND THE SPRING (2002, Motohashi Seiichi, Belarus)
+CALENDAR (1993, Atom Egoyan, Armenia)
+COLD HOMELAND (1994, Volker Koepp, Kaliningrad in Russia)
+FALLEN (2005, Fred Kelemen, Latvia)
+FINAL SOLUTION (2003, Rakesh Sharma, Gujarat in India)
+THE HORSE THIEF (1986, Tian Zhuangzhuang, Tibet)
+LAST TRAPPER (2004, Nicolas Vanier, Yukon in Canada)
+PALMS (1993, Artur Aristakisyan, Moldavia)
+POSSIBLE LIVES (2006, Sandra Gugliotta, Patagonia in Argentina)

Each of these films got one vote or 16 %.


12.THE CORRIDOR (1994, Sharunas Bartas, Lithuania)
+THE CRAZY ON THE ROCKS (2007, Altaf Mazid, Assam? in India)
+THE FLIGHT OF THE BEES (1998, Jamshed Usmonov + Min Boung-hun, Tajikistan)
+HUNTING THE LION WITH BOW AND ARROW (1965, Jean Rouch, Mali/Niger)
+LITTLE MEN (2003, Nariman Turebayev, Kazakhstan)
+MANORO (2006, Brillante Mendoza, Pampanga in Philippines)
+THE ROAD TO KALIMUGTONG (2006, Mes de Guzman, Benguet in Philippines)
+THE SORTER’S BRIDGE (1999, Charles de Meaux + Philippe Parreno, Pamir)
+THE TIN MINE (2005, Jira Maligool, Takuathung in Thailand)

Each of them got 0 vote.


--One of the reasons why I made this poll is because I have never been abroad, except a one-kilometre walk into Burma in 1994. I also rarely travel upcountry. I’m very poor and don’t have money for travel. Watching a film is a means for me to mentally travel to other places.

The word ‘unfamiliar places’ for me includes all those former-USSR states. This is because I studied geography in a secondary school in 1980’s. During that time, there was only USSR in the geography curriculum. When the USSR broke apart, I was in a university and didn’t have to study geography anymore. That’s why the names of all these states sound unfamiliar to me. When I see the words “SOUTH OSSETIA” or “ABKHAZIA” or “TRANSNISTRIA” in news, I really have no ideas where these places are.

SOUTH OSSETIA (an independent part in Georgia)
http://en.wikipedia.org/wiki/South_Ossetia
http://farm4.static.flickr.com/3203/2499002277_125bb7ae52_o.gif

ABKHAZIA (an independent part in Georgia)
http://en.wikipedia.org/wiki/Abkhazia
http://farm3.static.flickr.com/2138/2499002275_a82abd1100_o.png

TRANSNISTRIA (a breakaway republic in Moldova)
http://en.wikipedia.org/wiki/Transnistria
http://farm3.static.flickr.com/2206/2499002283_a6dca09f0c_o.jpg



--Talking about former USSR reminds me that I would like to see many films mentioned by Kent Jones in an article about Central Asian films in Film Comment. You can read the article here:
http://www.filmlinc.com/fcm/5-6-2003/centralasia2.htm

--The book THE ZERO HOUR: GLASNOST AND SOVIET CINEMA IN TRANSITION (1992), written by Andrew Horton and Michael Brashinsky also mentions many interesting films from different parts of the USSR, including:

1.ANEMIA (1988, Vekhtang Kotetishvili, Georgia)

2.AWAKENING (1990, Jonas Vaitkus, Lithuania)

3.BIRD WATCHER (1987, Arvo Iho, Estonia)

4.GAMES FOR SCHOOLCHILDREN (1987, Leida Laius + Arvo Iho, Estonia)

5.GEORGIAN CHRONICLE OF NINETEENTH CENTURY (1979, Alexander Rekhviashvili, Georgia)

6.LAST STOP (1989, Serik Aprymov, Kazakhstan)

7.LITTLE FISH IN LOVE (1989, Abai Karpikov, Kazakhstan)

8.THE LOOK (1988, Valery Ahadov, Tajikistan)

9.MADNESS (1969, Kaljo Kiisk, Estonia)

10.MIGRATING SPARROWS (1979, Teimuraz Babluani, Georgia)

11.MY ENGLISH GRANDDAD (1987, Nana Djordjadze, Georgia)

12.THE NEEDLE (1988, Rashid Nugmanov, Kazakhstan)

13.NOBODY WANTED TO DIE (1965, Vitautas Zhalakiavichius, Lithuania)

14.PHOTO WITH A WOMAN AND A WILD BOAR (1987, Arvid Kriev, Latvia)

15.PIROSMANI (1970, Georgy Shengelaya, Georgia)

16.SIZ KIM SIZ? (1989, Dzhahongir Faiziev, Uzbekistan)

17.SPOT (1985, Alexander Tsabadze, Georgia)

18.STEPMOTHER SAMANISHVILI (1978, Eldar Shengelaya)

19.SUPPLICATION (1968, Tengiz Abuladze, Georgia)

20.SWAN LAKE: THE ZONE (1990, Yuri Ilienko, Ukraine)

21.THE THREE (1988, Alexander Baranov + Bakhyt Kilibayev, Kazakhstan)

22.TICKET TO THE TAJ MAHAL (1991, Algimantas Puipa, Lithuania)

23.TO REMEMBER OR TO FORGET (1982, Janis Streich, Latvia)


Among the films above, the ones I like to see the most include ANEMIA. This is the description of ANEMIA in the book THE ZERO HOUR:

“the director of ANEMIA (1988) brings his young hero Nika from Tbilisi to a godforsaken mountain village to teach in a local boarding school. While Rekhviashvili left the illusion that perhaps once out of the urban asylum, in the land of old values carried by old shepherds, one can find a key to the search, Kotetishvili presents a feast of disillusionment. Anemia—weakness and paleness of being—characterizes life in the movie, which is deliberately anemic, weakly slow-paces, and tonelessly beautiful itself. The principal of the school, a crazy Stalinist, a little dictator, leads the crew of eight monster teachers who teach seven students to be nobodies. Seasons pass, but nothing changes in the comatose “dead materialists’ society.” Nika’s ideals slowly dies, and then his soul does the same. The only rebellion allowed the hero is to simulate suicide.”


--Africa is also a place I barely know. I once made a list of African movies here:
http://celinejulie.blogspot.com/2006/09/african-movies.html


--MY FAVORITE FILMS ABOUT DIFFERENT PARTS OF THAILAND

1.Northern
Many short films by Uruphong Raksasad

2.Western
TIGRESS OF KING RIVER (2002, Bhandit Rittakol)
http://www.siamzone.com/movie/m/870/poster

3.Middle
FARMER FIELD SCHOOL (2007, Supong Jitmuang, 38 min, Supanburi Province)

4.Northeastern
MY FRIEND (SIAO) (2005, Rapeepun Leethong, 15 min, Roi-ed Province)

5.Eastern
AMAZING THAILAND (1998, Soraya Nakhasuwan + Panatta Yusuksawasdi)
A section of this documentary is about a prostitute in Pattaya.

6.Southern
MAE(…)BIA (2001, Chananya Poolsri, 8 min, Nakhon Si Thammarat Province)





6 comments:

Anonymous said...

"Mentally Travel" ถือเป็นคำศัพท์หรืออาจเป็นคอนเซ็ปท์ที่น่าสนใจมากเลยครับ
คือ ถ้าพูดถึงกระแสโลกาภิวัตน์ นอกจากประเด็นเรื่องทุนข้ามชาติ หรือ การเดินทางข้ามรัฐชาติของผู้คน (ที่เห็นได้ชัดในแถบยุโรป หรือ กรณีไทยก็อาจเป็นเรื่องแรงงานพม่า หรือ คนบริเวณชายแดนใต้)แล้ว
สิ่งหนึ่งที่เดินทางข้ามรัฐชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็คือ ผลงานทางด้านวัฒนธรรม และหนังก็เป็นหนึ่งในนั้น
ด้วยเหตุนี้ ในยุคปัจจุบัน (หรือในยุคตั้งแต่สื่อภาพยนตร์เริ่มแพร่หลายไปทั่วโลก ซึ่งอาจเกิดขึ้นก่อนหน้ายุคที่เราเรียกกันว่า "โลกาภิวัตน์" ด้วยซ้ำไป) คนจึงอาจไม่ต้องเดินทางข้ามพรมแดนของรัฐชาติในทางกายภาพ แต่เขาอาจสามารถเดินทางไปสู่พื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้ผ่านการชมภาพยนตร์ ซึ่งคงเป็นอย่างที่คุณ MdS บอกแหละครับ ว่านี่คือ "การเดินทางในจิตใจ"
อย่างไรก็ตาม เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีโอกาสได้อ่านบล็อกของคุณเต๋อ นวพล เกี่ยวกับบันทึกการเดินทางไปฮ่องกง ซึ่งคุณนวพลได้สรุปไว้อย่างน่าสนใจว่า จากที่เขาต้องการจะไปพบตัวละครหรือโลกแบบที่ปรากฏในหนังของหว่อง กา ไว แต่เมื่อได้ไปสัมผัสกับฮ่องกงและผู้คนที่นั่นจริง ๆ เขากลับพบว่า ผู้คนฮ่องกงและโลกของพวกเขาไม่ได้ดำเนินไปอย่างในหนังหว่อง นี่อาจแสดงให้เห็นได้เหมือนกันว่า หลายครั้งภาพตัวแทนที่ปรากฏในหนัง กับ สิ่งต่าง ๆ ในโลกความจริง ก็อาจเป็นคนละอย่างกัน
แต่ก็ใช่ว่า ผู้คนที่เดินทางไปสัมผัสกับประเทศต่าง ๆ จริง ๆ จะสามารถล่วงรู้ความจริงเกี่ยวกับประเทศนั้นได้อย่างลึกซึ้งครบถ้วนเช่นกัน เช่น ผมคิดว่า คนที่เดินทางไปท่องเที่ยวรัสเซียกับกรุ๊ปทัวร์ (ซึ่งฮิตมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา) ก็อาจไม่ได้มีความรู้เกี่ยวกับดินแดนต่าง ๆ มากมายที่ดำรงอยู่ภายหลังจากการแตกสลายของสหภาพโซเวียต เหมือนที่คุณ MdS รู้เช่นกัน

celinejulie said...

ได้อ่านสิ่งที่คุณปราปต์เขียน และลองคิดไปคิดมาแล้ว ก็ทำให้คิดว่าแต่ละสิ่งอาจจะช่วยเติมเต็มซึ่งกันและกันในการให้ภาพความเป็นจริงของประเทศหนึ่งๆ โดยที่ไม่มีสิ่งใดสิ่งหนึ่งสามารถทำหน้าที่นี้ได้อย่างสมบูรณ์ หนังที่เป็น FICTION อาจจะทำหน้าที่ให้ภาพ “สิ่งที่เกิดขึ้นจริง” ในแต่ละประเทศได้น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับ “รายงานข่าว” หรือการเดินทางท่องเที่ยวไปสัมผัสประเทศนั้นด้วยตัวเอง แต่ผู้สร้างหนัง fiction หลายคนก็คงไม่ได้ตั้งใจจะสะท้อนภาพความเป็นจริงอยู่แล้ว แต่อาจจะตั้งใจตอบสนองความฝันหรือความปรารถนาในใจผู้ชมมากกว่า ซึ่งหลายๆครั้งความปรารถนาของผู้ชมคือการได้อยู่ในโลกสมมุติที่ตรงข้ามกับความเป็นจริง

พอพูดถึงเรื่อง “ความเป็นจริง” กับ “ภาพลักษณ์ในหนัง” ก็ทำให้นึกถึงเรื่องภาพลักษณ์ของกรุงเทพในหนังขึ้นมา ผมคิดว่าผมมักจะรู้สึกประทับใจกับหนังที่นำเสนอภาพลักษณ์ของกรุงเทพในแนว “โรแมนติก” หรือ “สงบงาม” มากกว่าหนังที่นำเสนอภาพลักษณ์ของกรุงเทพในแนวสับสนวุ่นวายหรือโสโครกโสมม ซึ่งนั่นอาจจะเป็นเพราะว่าผมเห็นภาพความโสมมในกรุงเทพจนชาชินแล้ว และหนังที่นำเสนอจุดนี้ออกมา ก็เลยไม่ได้ทำให้ผมรู้สึกอะไรขึ้นมาเลย ในขณะที่หนังที่นำเสนอภาพของกรุงเทพในแนว “สงบงาม” มักจะทำให้ผมเกิดความรู้สึกที่รุนแรงมากๆ บางทีหนังกลุ่มนี้อาจจะช่วยตอบสนองความปรารถนาของผมด้วยการพาเข้าสู่โลกที่ห่างจากความเป็นจริง

ตัวอย่างหนังที่นำเสนอภาพของกรุงเทพในแนว “สงบงาม” ก็เช่น ANAT(T)A, BIRTH OF THE SEANEMA, กรุงเทพสามทุ่มสี่สิบสองนาที และ FAKE (หมายถึงฉากที่ถ่ายแถวช่องนนทรี)

ผมจำได้ว่าผมเคยรู้สึกประหลาดใจมากๆสองครั้ง เมื่อได้ยินคนพูดถึงหนังที่นำเสนอภาพกรุงเทพได้ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด ครั้งแรกก็คือฝรั่งคนหนึ่งที่บอกว่า หนังเรื่อง “นาค รักแท้/วิญญาณ/ความตาย” (2005, Mark Duffield, B) นำเสนอภาพกรุงเทพได้ตรงกับความเป็นจริงมากๆ ครั้งที่สองก็คือเมื่อคุณ FILMSICK ซึ่งเป็นชาวภูเก็ตบอกว่า หนังเรื่อง “ผีเลี้ยงลูกคน” (B-) นำเสนอภาพกรุงเทพได้ตรงกับความเป็นจริงมากๆ สิ่งที่ผมประหลาดใจเป็นเพราะว่า ภาพกรุงเทพในหนังสองเรื่องนี้ไม่ได้ก่อให้ผมเกิด “ความรู้สึก” อะไรเลยขณะที่ดู แต่นั่นอาจจะเป็นเพราะว่า ภาพกรุงเทพในหนังสองเรื่องนี้ มัน “ตรงกับความเป็นจริง” มากๆนั่นเอง จนทำให้ผมรู้สึกเหมือนกับการนั่งรถเมล์เดินทางในกรุงเทพ หรือการเดินเข้าซอยในกรุงเทพ และไม่ได้รู้สึกอะไรเลยกับภาพที่ได้เห็นขณะนั่งรถเมล์หรือเดินเข้าซอย บางที คนที่จะบอกลักษณะของกรุงเทพได้ดีที่สุด อาจจะต้องเป็นคนต่างถิ่นอย่างฝรั่งคนนั้นหรืออย่างคุณ filmsick ถึงจะได้มองออกว่า กรุงเทพมีลักษณะเด่นที่ต่างจากที่อื่นๆอย่างไรบ้าง

--การจะเข้าใจประเทศอื่นๆได้นั้น คงจะไม่สามารถทำได้โดยผ่านทางการดูหนังหรือการเดินทางท่องเที่ยวชั่วครั้งชั่วคราวอย่างแน่นอน แต่คงจะต้องทำด้วยการเข้าไปอาศัยอยู่ในประเทศนั้นจริงๆ ผมเคยได้พูดคุยเล็กน้อยกับเพื่อนที่เคยอาศัยอยู่ต่างประเทศ และก็พบว่าพวกเขาเหล่านั้นมักจะให้ข้อมูลที่ไม่สามารถพบได้ในหนังเกี่ยวกับประเทศนั้นๆอยู่เสมอ อย่างเช่น


1.หนังทำให้ผมรู้สึกว่าฝรั่งเศสเป็นประเทศโรแมนติกและน่าอยู่ แต่เพื่อนชาวอเมริกันที่มีสามีเป็นชาวฝรั่งเศสและอาศัยอยู่ในฝรั่งเศสนานหลายปี บอกว่าเขารู้สึกว่าชาวฝรั่งเศสไม่ต้อนรับเขาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในสังคมอย่างเต็มที่ ถึงแม้เขาจะอาศัยอยู่ฝรั่งเศสนานหลายปีและพูดฝรั่งเศสอย่างคล่องแคล่ว แต่เขาก็รู้สึกว่าสังคมฝรั่งเศสเหมือนกับตั้งกำแพงบางอย่างกั้นเขาเอาไว้

2.เพื่อนคนไทยที่เคยอาศัยอยู่ในรัสเซียบอกว่าเธอหวาดผวาทุกวันว่าจะถูกนีโอนาซีฆ่า เพราะปัญหานีโอนาซีรุนแรงมากๆ มีการฆ่าชาวต่างชาติในมอสโคว์อย่างโหดเหี้ยมทารุณเกือบทุกวัน โดยชาวต่างชาติในที่นี้รวมถึงชาวอาเซอร์ไบจันและส่วนอื่นๆในสหภาพโซเวียตที่ไม่ได้เป็นรัสเซียด้วย ปัญหานี้รุนแรงมากๆ แต่ผมก็ไม่คิดว่าได้เคยเห็นปัญหาเหล่านี้ในหนังรัสเซียที่ได้ดู อย่างไรก็ดี สิ่งหนึ่งที่ปรากฏในหนังรัสเซียและตรงกับสภาพความเป็นจริงก็คือ ประเทศนี้มีกลุ่มคนที่ยากจนข้นแค้นมากๆ

3.เพื่อนที่อาศัยอยู่ในนิวยอร์คบอกว่า เขาต้องคอยระวังชาวเปอร์โตริกัน เพราะชาวเปอร์โตริกันบางคนเหมือนจ้องจะทำร้ายคนเอเชีย

4.เยอรมนีดูเป็นประเทศที่เคร่งขรึม และซึมๆ ทึมๆ ดูเหมือนจะมีบรรยากาศหดหู่เล็กน้อย แต่เพื่อนคนไทยที่เคยอาศัยอยู่ในไทย, รัสเซีย, สหรัฐ และเยอรมนี บอกว่าเยอรมนีเป็นประเทศที่เขาอยู่แล้วมีความสุขมากที่สุด, ประเทศนี้มีเสรีภาพทางเพศสูงมาก และเขาก็อยู่เยอรมนีอย่างมีความสุขมานานหลายปีแล้ว บางคนอาจจะอยู่เยอรมนีแล้วไม่ชอบ แต่ผมคิดว่าเพื่อนผมคนนี้มีสไตล์ชีวิตใกล้เคียงกับผมมากที่สุด เพราะฉะนั้นผมจึงเชื่อว่าเยอรมนีคงจะเป็นประเทศที่น่าอยู่ที่สุดสำหรับผมเช่นกัน ถึงแม้ภาพลักษณ์ของเยอรมนีที่ปรากฏในหนังของ FRED KELEMEN อาจจะดูไม่น่าอยู่เท่าไหร่นักก็ตาม ฮ่าๆๆๆ

Brian Darr said...

I hope you get a chance to travel someday. I feel lucky I was able to travel to Thailand when I did (in 1999-2000). Even though I was working most of the time, I was able to take short trips during school breaks. In fact, I was forced to for a while because for the first year I was working using a tourist visa that kept expiring every few months. I miss international travel, which is one main reason I'm interested in international films.

Also, thanks for the link to my Easter Morning piece. I hope many people are able to see this beautiful film! It's very different from Take the 5:10 to Dreamland which I also love. Have you seen other Bruce Conner films?

One last thing: are the Uruphong Raksasad shorts you refer to the ones that were collected together under the title Stories From the North? If so, I liked them quite a bit when I saw them a year ago.

celinejulie said...

Hi Brian

--Ah, your story reminds me of some ex-colleagues who had to travel to Malaysia to extend their visa for Thailand every 3 month or so.

--I saw some of Bruce Conner’s films in 2003. I hardly remember any details now. These are the films that I saw in my preferential order.

1.TAKE THE 5:10 TO DREAMLAND (1976)

2.REPORT (1967)

3.MARILYN TIMES FIVE (1973)

4.BREAKAWAY (1966)
I can’t remember any images from this film now. I just remember that I wanted to get up from the seat, go to the front of the screen, and dance while watching this film.

5.VIVIAN (1965)

6.THE WHITE ROSE (1967)
I’m glad that FILM COMMENT has a long article about this film. It is surprising that a film so short can inspire an article so long.

7.VALSE TRISTE (1977)

I just discovered that you can watch MEA CULPA (1981) online. I just watched it. I think it’s great, though I prefer his other films.
http://video.aol.com/video-detail/mea-culpa-by-bruce-conner/1927936417


--Yes, the Uruphong Raksasad’s shorts are the ones that are collected in STORIES FROM THE NORTH. I haven’t seen the whole STORIES FROM THE NORTH, but I saw 6 shorts that are included in it. Apart from the shorts in STORIES FROM THE NORTH, Uruphong also made three new short films called ROY TAI PRAE (2008), THE ROCKET (2006), and THE PLANET (2007). I love THE ROCKET. It is also about the north of Thailand, but this time it is about the northeastern people who migrated to the north of Thailand and hold a northeastern festival in their new areas.

Brian Darr said...

I recently was able to find A MOVIE, PERMIAN STRATA and MONGOLOID online as well. THE WHITE ROSE is the first one of his films I saw, and still one of my very favorites.

celinejulie said...

Thank you very much, Brian, for telling me about the other films available online. :-)